วันศุกร์ที่ 2 ธันวาคม พ.ศ. 2554

คลื่นนิ่ง

                เป็นผลจากการรวมคลื่น ที่มีความถี่ ความยาวคลื่น เท่ากัน   ตำแหน่งที่การกระจัดรวม
มีค่าเท่ากับศูนย์เสมอ เรียกว่าตำแหน่งบัพ (Node)  และมีตำแหน่งที่การกระจัดรวมเเปลี่ยนมีค่า
เป็นศูนย์ และมากสุด เรียกว่าตำแหน่งปฏิบัพ(Antinode)   ลักษณะเป็นวงรี เรียกว่าลูป (loop)

        คลื่นผิวน้ำ  
                จะเกิด ระหว่าง แหล่งกำเนิด S1,S2   หรือ แหล่งกำเนิด กับผิวสิ่งกี่ดขวาง
 (คลื่นตกกระทบซ้อน, รวมหรือแทรกสอด กับคลื่นสะท้อน )
               


                 ศึกษา  ตรวจสอบ ได้จาก  VDO Clip  ทีมา  http://www.youtube.com/watch?v=NpEevfOU4Z8&feature=related

วันอังคารที่ 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2554

การสะท้อนของคลื่น

 
                คลื่น เคลื่อนที่กระทบสิ่งกีดขวางแล้ว  เปลี่ยนทิศทางการเคลื่อนที่ แต่ยังอยูในตัว
กลางเดียวกัน   เช่นคลื่นน้ำ จะเป็นนำบริเวณเดียวกันคือด้านหน้าแผ่นกั้นคลื่น
                 คลื่นน้ำใช้การสังเกตหน้าคลื่น

             1. มุมตกกระทบและ มุมสะท้อน
   มุมตกกระทบ   =  มุมทีหน้าคลื่นตกกระทบทำกับผิวแผ่นกั้นคลื่น
มุมตกสะท้อน   =  มุมทีหน้าคลื่นสะท้อนทำกับผิวแผ่นกั้นคลื่น
                2. กฏการสะท้อนคลื่น
มุมตกกระทบ กับมุมสะท้อนจะมีค่าเท่ากัน  โดยหน้าคลื่น ผิวสะท้อนหรือแผ่นกั้น
อยุ่ในระนาบเดียวกัน  

                3. แผ่นกั้น และคลื่นน้ำ  คลื่นสะท้อนมีลักษณะหน้าคลื่นอย่างไร
                      3.1   แผ่นกั้นตรง คลื่นน้ำวงกลม

                         3.2  แผ่นกั้นโค้งพาราโบลา    คลื่นน้ำ
                                                           ก .ตกกระทบหน้าตรง
                                                           ข. ตกกระทบวงกลม แหล่งที่จุดโฟกัส


                 4  คลื่นบนเส้นเชือก ปลายตรึงแน่น กับปลายอิสระ
                               เมื่อตกกระทบและ สะท้อนจะมีผลต่างกันหรือไม่อย่างไร?

                          4.1   ก่อนตกกระทบ                         4.2   เริ่มกระตกกระทบ

                      4.3   ระหว่างตกกระทบ                        4.4   สะท้อน
      
               ศึกษา /ตรวจสอบ  จาก clip VDO

วันพฤหัสบดีที่ 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2554

การหักเหคลื่นผิวน้ำ

            1.  บริเวณนำ้ตื้น นำ้ลึก
                                        จากรูป  ทิศทางของคลื่่นน้ำเปลี่ยนแปลงหรือไร ?
    คลื่นผิวน้ำหน้าตรง เคลื่่อนที่จากแหล่งกำเนิด ด้านซ้ายมือน้ำที่ลึกกว่า ด้านขวามือ
สังเกตหน้าคลื่นกว้างในน้ำลึก  แคบในนำ้ตื้น  ทำให้กล่าวได้ว่า
              1.ความยาวคลื่นน้ำในบริเวณนำ้ลึกมีค่ามากกว่า ในบริเวณน้ำตื้น 
              2.ความถี่คลื่นหรือจำนวนลูกคลื่นใน 1 วินาที่ เท่ากัน เพราะเป็นคลื่นชุดเดียวกัน
              3.อัตราเร็วคลื่นบนผิวน้ำในบิเวณนำ้ำลึก มากกว่า ในบริเวณน้ำตื้น  (v1>v2)

ถ้าแนวแบ่ง บริเวณน้ำลึก กับน้ำตื้น หรือรอยต่อระหว่างตัวกลาง ไม่ขนานกับหน้าคลื่น
ทิศทางของคลื่นจะเป็นอย่างไร ?

วันพุธที่ 23 พฤศจิกายน พ.ศ. 2554

การเลี้ยวเบนคลื่นผิวน้ำ

                     มีหน้าคลื่นปรากฏหลังสิ่งกีดขวาง แสดงถึงสมบัติคลื่นที่เรียกว่า การเลี้ยวเบน                       
                ศึกษา/ตรวจสอบจาก เว็บ จาวาแอ็บแพลต 0


                 1.  หลักของฮอยเกนส์  ( Huygens Principle)
                               ทุกตำแหน่งบนหน้าคลื่นเดิม เป็นแหล่งกำเนิดคลื่นวงกลม ให้คลื่นใหม่เฟสตรงกันกระจายออกไป ในเวลาที่เท่ากันหน้าคลื่นเสริมเรียงกัน แนวเส้นสัมผัสเป็นหน้าคลื่นใหม่มีลักษณะเหมือนหน้าคลื่นเิดิม
                ความกว้างของช่อง และความยาวคลื่น มีผลอย่างไรต่อการเลี้ยวเบน ? 

วันจันทร์ที่ 21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2554

การแทรกสอดคลื่นผิวน้ำ

    รบกวนผิวน้ำด้วยปุ่มกำเนิดคลื่น S  เกิดคลื่นผิวน้ำวงกลม   เมื่อใช้ ปุ่ม 2 ปุ่มคือ S1 และ S2
บนคานเดียวกัน ทำให้เกิดคลื่น 2 คลื่น ความถี่เท่า เฟสคลื่นตรงกัน เรียกว่าแหล่งกำเนิดอาพันธ์
(Coherent Source)
           คลื่นวงกลมความถี่ ความยาวคลื่นเท่ากัน เฟสตรงกัน จากแหล่งกำเนิดคลื่นอาพันธ์
(S1,S2)ซ้อนทับกันหรือรวมกัน 
           เรียกว่าการแทรกสอดของคลื่น ( Interference)  มี 2 แบบ คือเสริมสร้าง (construtive)
และแบบหักล้าง (destructive)
          VDO Clip  http://www.youtube.com/watch?NR=1&feature=endscreen&v=dNx70orCPnA

             องค์ประกอบของสมบัติคลื่น ที่เรียกว่า การแทรกสอด
         1.   ตำแหน่ง ปฏิบัพ(Antinode) และ บัพ (Node)
  สังเกตจาก รูป เส้นสีขาวเป็นหน้าคลื่นจากสันคลื่น  เส้นสีดำเป็นหน้าคลื่นจากท้อง
จุดตัดเป็นตำแหน่งรวมกันของคลื่น 

          ตรวจสอบ/ศึกษา ตำแหน่งและลวดลายการแทรกสอด    เว็บ จาวาแอพเพลต 

วันจันทร์ที่ 14 พฤศจิกายน พ.ศ. 2554

การเคลื่อนที่แบบคลื่น Wave Motion


                               มีไฟล์  _.xls   ใน www.phywit54.wordpress.com  
            คำถาม
                     เพิ่ม หรือลดค่า ความยาวคลื่น จำนวนลูกคลื่นเป็นอย่างไร
                     ถ้าเปลี่ยนตำแหน่ง หรือคลื่นเคลื่อนที่ ลักษณะรูปร่างคลื่นเป็นอย่างไร

ฮาร์โมนิกอย่างง่่าย :SHM M5

              1.  การกระจัด กับเวลา หรือมุม (เฟส )


                            มีไฟล์ ___.xls    ให้ทดลองศึกษา  www.phywit54.wordpress.com


                                              ศึกษา/ ตรวจสอบ จาก Clip VDO               

               2. ความถี่ธรรมชาติ ของวัตถุเคลื่อนแบบ ฮาร์โมนิกอย่างง่าย
                         มวลติดสปริง   Clip VDO
                         ลูกตุ้มนาฬกา  Clip VDO  
                    
        

วันพฤหัสบดีที่ 3 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554

วันจันทร์ที่ 10 มกราคม พ.ศ. 2554

math model "sound level intensity" M5


                   # ความดังเสียง ที่คนเราได้ยินจะดังมากหรือน้อย กำหนดจากค่าของปริมาณ
                      ต่อไปนี้  1. ระดับเสียง (Pith) frequency : f  
                                    2. ความเข้มเสียง ( Intensity of Sound ) : I
                                    3. ระดับความเข้มเสียง  (Level of Intensity) : L
                     
                   # MMP  แสดงความสัมพันธ์ ระหว่างระดับความเข้มเสียง กับ ความเข้มเสียง 
                      กับ ระดับความเข้มเสียง กับ ค่าล็อกฐาน10 ความเข้มเสียงใดๆ 
                            ดังรูป .........................