รบกวนผิวน้ำด้วยปุ่มกำเนิดคลื่น S เกิดคลื่นผิวน้ำวงกลม เมื่อใช้ ปุ่ม 2 ปุ่มคือ S1 และ S2
บนคานเดียวกัน ทำให้เกิดคลื่น 2 คลื่น ความถี่เท่า เฟสคลื่นตรงกัน เรียกว่าแหล่งกำเนิดอาพันธ์
(Coherent Source)
คลื่นวงกลมความถี่ ความยาวคลื่นเท่ากัน เฟสตรงกัน จากแหล่งกำเนิดคลื่นอาพันธ์
(S1,S2)ซ้อนทับกันหรือรวมกัน
เรียกว่าการแทรกสอดของคลื่น ( Interference) มี 2 แบบ คือเสริมสร้าง (construtive)
และแบบหักล้าง (destructive)
VDO Clip http://www.youtube.com/watch?NR=1&feature=endscreen&v=dNx70orCPnA
องค์ประกอบของสมบัติคลื่น ที่เรียกว่า การแทรกสอด
บนคานเดียวกัน ทำให้เกิดคลื่น 2 คลื่น ความถี่เท่า เฟสคลื่นตรงกัน เรียกว่าแหล่งกำเนิดอาพันธ์
(Coherent Source)
คลื่นวงกลมความถี่ ความยาวคลื่นเท่ากัน เฟสตรงกัน จากแหล่งกำเนิดคลื่นอาพันธ์
(S1,S2)ซ้อนทับกันหรือรวมกัน
เรียกว่าการแทรกสอดของคลื่น ( Interference) มี 2 แบบ คือเสริมสร้าง (construtive)
และแบบหักล้าง (destructive)
VDO Clip http://www.youtube.com/watch?NR=1&feature=endscreen&v=dNx70orCPnA
องค์ประกอบของสมบัติคลื่น ที่เรียกว่า การแทรกสอด
1. ตำแหน่ง ปฏิบัพ(Antinode) และ บัพ (Node)
สังเกตจาก รูป เส้นสีขาวเป็นหน้าคลื่นจากสันคลื่น เส้นสีดำเป็นหน้าคลื่นจากท้อง
จุดตัดเป็นตำแหน่งรวมกันของคลื่น
ตรวจสอบ/ศึกษา ตำแหน่งและลวดลายการแทรกสอด เว็บ จาวาแอพเพลต
2. ลวดลายการแทรกสอด
เกิดจากการเรียงเป็นแนวเส้น ของตำแหน่งปฏิบัพ และบัพ เรียกว่า แนวปฏิบัพ
(A0, A1, A2, ...) และแนวบัพ ( N1, N2, N3, ....) ตามลำดับ
3. ความต่า
เป็นการนำระยะทางจากแหล่งกำเนิด S1 , S2 ถึงตำแหน่งบนเส้นแนวปฏิบัพ
หรือแนวบัพ มาลบกับ คิดเป็นจำนวนลูกคลื่นหรือความยาวคลื่น เช่น Pบนแนวเส้นปฏิบัพ
หรือ Qบนแนวเส้นบัพ
หรือแนวบัพ มาลบกับ คิดเป็นจำนวนลูกคลื่นหรือความยาวคลื่น เช่น Pบนแนวเส้นปฏิบัพ
หรือ Qบนแนวเส้นบัพ
ความต่างระยะทาง ในเทอมของความยาวคลื่น (path differrecne) เป็นอย่างไร ?
3. การคำนวณ
ความต่างระระยะทาง ของการแทรกสอดคลื่น จากแหล่งกำเนิดคลื่นอาพันธ์
ตรวจสอบ /ศึกษา จำนวนลูกคลื่น การซ้อนของคลื่นที่ตำแหน่งบนแนวเส้นบัพ
ปฏิบัพจาก เว็บ จาวา แอ๊บแพลต 1
เช่น ตำแหน่งบนแนวเส้นบัพที่ 3 (N3) เป็นตำแหน่งที่เกิดการรวมคลื่น มีจำนวน
ลูกคลื่นต่างกัน 2.5 ลูก หรือระยะห่างจากแหล่งกำเนิด ต่างกัน 2.5 เท่าความยาวคลื่น
จาก เว็บ จาวาแอ๊บแพลต 2
เช่น ตำแหน่ง P บนแนว A1 ระยะทางมีความต่างกัน 1 ความยาวคลื่น
หรือจำนวนลูกคลื่นต่างกัน 1 ลูก
เช่น ตำแหน่ง P บนแนว N2 ระยะทางมีความต่างกัน 1.5 ความยาวคลื่น
หรือจำนวนลูกคลื่นต่างกัน 1.5 ลูก
ระยะห่างระหว่างแหล่งกำเนิดคลื่น ความยาวคลื่น มีผลต่อจำนวนแนวเส้นหรือ
ลวดลายการแทรกสอดของคลื่นหรือไม่อย่างไร ?
Clip VDO
3. การคำนวณ
ความต่างระระยะทาง ของการแทรกสอดคลื่น จากแหล่งกำเนิดคลื่นอาพันธ์
ตรวจสอบ /ศึกษา จำนวนลูกคลื่น การซ้อนของคลื่นที่ตำแหน่งบนแนวเส้นบัพ
ปฏิบัพจาก เว็บ จาวา แอ๊บแพลต 1
เช่น ตำแหน่งบนแนวเส้นบัพที่ 3 (N3) เป็นตำแหน่งที่เกิดการรวมคลื่น มีจำนวน
ลูกคลื่นต่างกัน 2.5 ลูก หรือระยะห่างจากแหล่งกำเนิด ต่างกัน 2.5 เท่าความยาวคลื่น
จาก เว็บ จาวาแอ๊บแพลต 2
เช่น ตำแหน่ง P บนแนว A1 ระยะทางมีความต่างกัน 1 ความยาวคลื่น
หรือจำนวนลูกคลื่นต่างกัน 1 ลูก
เช่น ตำแหน่ง P บนแนว N2 ระยะทางมีความต่างกัน 1.5 ความยาวคลื่น
หรือจำนวนลูกคลื่นต่างกัน 1.5 ลูก
ระยะห่างระหว่างแหล่งกำเนิดคลื่น ความยาวคลื่น มีผลต่อจำนวนแนวเส้นหรือ
ลวดลายการแทรกสอดของคลื่นหรือไม่อย่างไร ?
Clip VDO