มีค่าเท่ากับศูนย์เสมอ เรียกว่าตำแหน่งบัพ (Node) และมีตำแหน่งที่การกระจัดรวมเเปลี่ยนมีค่า
เป็นศูนย์ และมากสุด เรียกว่าตำแหน่งปฏิบัพ(Antinode) ลักษณะเป็นวงรี เรียกว่าลูป (loop)
คลื่นผิวน้ำ
จะเกิด ระหว่าง แหล่งกำเนิด S1,S2 หรือ แหล่งกำเนิด กับผิวสิ่งกี่ดขวาง
(คลื่นตกกระทบซ้อน, รวมหรือแทรกสอด กับคลื่นสะท้อน )
ศึกษา ตรวจสอบ ได้จาก VDO Clip ทีมา http://www.youtube.com/watch?v=NpEevfOU4Z8&feature=related
อธิบายผล
คลื่น่น้ำ ความถี่เท่า เฟสตรงกัน ในกรณีสะท้อนคลื่นน้ำ ไม่กลับเฟส
ขณะเกิดคลื่นนิ่ง ตำแหน่งปฏิบัพ จะต่ำมาก สูงมากกว่าระดับผิวน้ำเมื่อไม่เกิดคลื่น
( การกระจัดรวมคลื่นมากสุด) ตำแหน่งบัพ ( Node) :N การกระจัดของคลื่นรวม
เป็นศูนย์ทุกค่าเวลา
ที่กึ่งกลาง ระหว่าง แหล่งกำเนิดคลื่นผิวน้ำ S1 , S2 เป็นตำแหน่ง
ปฏิบัพ ที่ผิวสะท้อน หรือสิ่งกีดขวาง เป็นตำแหน่ง ปฏิบัพ
ระยะห่างน้อยสุด จากแหล่งกำเนิดคลื่นน้ำกับ ผิววัตถุกั้นขวางคลื่น
มีค่าเท่ากับครึ่งความยาวคลื่นน้ำ
1. ปลายเส้นเชือก ลวด ทั้งสองด้านยึดแน่น
ศึกษา ตรวจสอบ จาก VDO Clip ที่มา http://www.youtube.com/watch?v=t6VXV-Sv184&feature=related
จาก VDO Clip ที่่มา http://www.youtube.com/watch?v=wChZ5YuZG_E&feature=rellist&playnext=1&list=PL3F3D4C0BB2BD9554
อธิบาย เมื่อ ดีด ตี หรือสี เกิดคลื่นตกกระทบ สะท้อน ซ้อนทับกัน
พบว่า ปลายทั้งสองเป็นตำแหน่งบัพ และเกิด 1 ลูป
ความถี่คลื่น แปรผกผันกับความยาว เชือก ลวด
ความยาวคลื่นแปรตามความยาวเชือก ลวด
( โดย ขนาดเชือก ลวด แรงดึงคงตัว)
2. รบกวนที่ปลายข้างหนึ่ง ปรับค่าแรงดึง
ศึกษา ตรวจสอบ จาก VDO Clip ที่มา http://www.youtube.com/watch?v=OtHGD7tcaFI&feature=related
อธิบาย คลื่นบนเชือกจากด้านซ้ายเคลื่อนที่ ไปทางขวา กระทบปลายตรึง
แน่น สะท้อนกลับเฟส 180 องสา แทรกสอดเกิดคลื่นนิ่ง
พบว่า
เกิดวงรี หรือลูป มากกว่า 1 ได้ แต่ละลูป อยูในระยะ ครึ่งความยาวคลื่น
ปลายทั้งสอง เป็นตำแหน่งบัพ
จำนวนลูป กำลังสอง แปรผกผันกับ แรงดึง
( โดย มวล กับ ความยาว และ ความถี่คลื่นคงตัว)